การรู้จักตนเองตามคำสอนของพระพุทธศาสนาหมายถึงอย่างไร
คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าล้วนเกี่ยวกับกายที่ยาววาหนาคืบกว้างศอกของเรานี้เอง หากเราต้องการรู้จักตัวเราเอง ต้องมาศึกษาคำสอนของพระพุทธองค์ว่าท่านทรงสอนให้เรารู้จักตนเองอย่างไร และควรทำอย่างไรต่อไป ถึงจะเป็นการรักตัวเองอย่างแท้จริง
การรู้จักตัวเองอย่างถูกหลักวิชชา
ในพระพุทธศาสนา ประเด็นใหญ่ในการเรียนการสอน คือ การพยายามที่จะสอนให้ทุกคนรู้จักตัวเองให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้
การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจให้เหมาะสมแก่การฝึกสมาธิและเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงธรรม
ร่างกายของเรานี้ประกอบด้วยธาตุสี่ที่ไม่บริสุทธิ์จึงเสื่อมสลายตลอดเวลา ทำให้ต้องหา ธาตุสี่จากภายนอกมาเติมเข้าไปอยู่เรื่อย ๆ ไม่มีสิ้นสุด ดังที่เราต้องประกอบกรรมต่าง ๆ เพื่อการเติมธาตุสี่ แต่กายนั้นก็ทำกรรมตามที่ใจของเราเป็นตัวสั่งการ ส่วนของใจทำหน้าที่รู้และคิด ส่วนของกายพูดและทำ
โครงการพัฒนาศีลธรรม "บวชธรรม นำประชา ไทยสามัคคี"
สถาปนาขึ้นจังหวัดแรก เพื่อเป็นต้นบุญต้นแบบ การฟื้นฟูศีลธรรมให้เกิดกับหมู่บ้าน ชุมชน วัด โรงเรียน สานต่อโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ระยะที่ 3 เชิงคุณภาพ ตามมติของมหาเถรสมาคม
โทษของความอิจฉาริษยา
ฉันได้ทำบาปกรรมเอาไว้ จึงไปสู่เปตโลก ฉันอนุโมทนาทานที่ท่านให้แล้ว จึงไม่มีภัยแต่ที่ไหน ขอท่านพร้อมด้วยญาติทุกคน จงมีอายุยืนนานเถิด ขอท่านจงประพฤติธรรมและให้ทานในโลกนี้ แล้วจะเข้าถึงฐานะอันไม่เศร้าโศก เมื่อท่านกำจัดมลทินคือความตระหนี่พร้อมด้วยรากแล้ว ใครๆ ก็ติเตียนท่านไม่ได้ จักเข้าถึงโลกสวรรค์
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ก่อเวรเพราะวาทกรรม
ในโลกนี้ สิ่งที่จะบั่นทอนกำลังใจของคนเราได้มากคือคำพูด คำพูดที่ตัดกำลังใจหรือกดใจผู้ฟังให้ต่ำลง ทำให้ผู้ฟังรู้สึกระคายหู ก่อให้เกิดความไม่พอใจความขุ่นมัวโกรธเคือง และยังเป็นวาทกรรมที่ก่อเวร ทำให้ผูกพยาบาทจองเวรกันอีกด้วย ซึ่งการผูกโกรธผูกพยาบาท จะทำให้ใจกระสับกระส่ายไม่เป็นสมาธิ นอกจากนี้หน้าตาก็ยังเศร้าหมองไม่ผ่องใส ไม่น่าเข้าใกล้ ใครๆ ต่างถอยห่างไม่อยากจะคบหาสมาคมด้วย