ธรรมกาย กายมาตรฐาน
สรีรยนต์นี้ ถูกกรรมปรุงแต่งทำให้เป็นนครแห่งกระดูกทั้งหลาย ฉาบด้วยเนื้อและโลหิต เป็นที่ตั้งลงแห่งชรา มรณะ มานะ และมักขะ
อริยมรรค หนทางสู่ความหลุดพ้น
ท่านทั้งหลายจงดำเนินตามทางที่สร่างความมัวเมา บรรเทาความเศร้าโศก เปลื้องตนให้หลุดพ้นจากสงสาร ซึ่งเป็นที่สิ้นสุดแห่งทุกข์ทั้งปวง โดยความเคารพเถิด
รู้จักกายที่แท้จริงของตัวเอง
สัตว์อันราคะย้อมแล้ว ถูกกองอวิชชาหุ้มห่อแล้ว จักไม่เห็นธรรมอันละเอียด ลึกซึ้ง ยากที่จะเห็น ละเอียดยิ่ง อันจะยังสัตว์ให้ถึงธรรมที่ทวนกระแส คือ นิพพาน
พิจารณาปล่อยวางในขันธ์ ๕
ภาชนะดินที่นายช่างทำแล้วทุกชนิด มีความแตกเป็นที่สุด แม้ฉันใด ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายที่เกิดมาแล้ว ล้วนมีความแตกสลายเป็นที่สุดฉันนั้น
ฝึกใจให้หยุดนิ่ง
ท่านทั้งหลายพึงทำความเพียรเครื่องเผากิเลส พระตถาคตทั้งหลายเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอก เหล่าชนผู้ดำเนินตามแล้ว มีปกติเพ่งพินิจ ย่อมหลุดพ้นจากเครื่องผูกแห่งมารได้
๔๐ วิธี เพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
ผู้ใดแล มีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต
ฐานที่ ๗ ใสบริสุทธิ์ดุจตะวันแก้ว
เธอทั้งหลายจงดูรถอันไม่มีโทษ มีหลังคาสีขาว มีเพลาเดียว ไม่มีทุกข์ แล่นไปถึงที่หมาย ตัดกระแสตัณหาขาด ไม่มีกิเลสเครื่องผูกพัน
ทางลัด ในการเข้าถึงธรรม
การฝึกสมาธิ จนมีสภาพใจที่รวมหยุดนิ่งนั้น อาจเป็นเรื่องยากสำหรับหลายคน เพราะกว่าใจจะรวมเป็นหนึ่งจนได้ปฐมฌาน (เข้าถึงดวงปฐมมรรค) ต้องผ่านขั้นตอนต่างๆ ไปตามลำดับขั้นก่อน ซึ่งเราเรียกขั้นตอนนั้นว่า “องค์แห่งฌาน”
เส้นทางจอมปราชญ์ (๑๐)
บุคคลจะนั่งในท่ามกลางอากาศ ในท่ามกลางมหาสมุทร เข้าไประหว่างซอกของภูเขาทั้งหลาย ก็ไม่พ้นประเทศคือแผ่นดิน ที่ความตายไม่พึงครอบงำผู้สถิตอยู่ ย่อมไม่มี
ปัจจัยในการบรรลุธรรม
การฝึกจิตที่บุคคลข่มได้ยาก เป็นธรรมชาติแล่นไปเร็ว มักตกไปในอารมณ์ตามความปรารถนา เป็นสิ่งที่ดี เพราะว่าจิตที่ฝึกดีแล้ว ย่อมเป็นเหตุนำความสุขมาให้
สมาธิมีผลต่อความสุขความสำเร็จของมนุษย์ทุกคนได้จริงหรือ
ความสำเร็จของชีวิตเกิดขึ้นได้ด้วยศาสตร์แห่งสมาธิ เพราะสมาธิเป็นพื้นฐานสำคัญของการศึกษา เรียกได้ว่าเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่ทรงคุณค่ายิ่งต่อความสุขความสำเร็จของมนุษย์ทุกๆ คน
การเจริญเมตตาจิต
ผู้ใดมีสติมั่นคง เจริญเมตตาอันหาประมาณมิได้ สังโยชน์ของผู้นั้น ผู้เห็นธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งอุปธิกิเลส ย่อมเบาบาง หากว่าเขาไม่มีจิตคิดประทุษร้ายสัตว์แม้สักตัวเดียว เจริญเมตตาอยู่ เพราะเจริญเมตตาจิตนั้น ย่อมเป็นกุศล
สัญญาเวทยิตนิโรธ
อนุปุพพวิหาร คือธรรมเป็นเครื่องอยู่ตามลำดับ ๙ ประการ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌาน อากิญจัญญายตนฌาน เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และสัญญาเวทยิตนิโรธ นี้คืออนุปุพพวิหาร ๙ ประการนี้
อสัญญีสัตตาพรหม
ดูก่อนพราหมณ์ สัตว์ละความยึดถืออัตตาว่าเป็นของเราในสัตว์ทั้งหลายที่เกิดเป็นมนุษย์ เป็นผู้เดียวโดดเด่น น้อมไปในกรุณา เป็นผู้ปราศจากกลิ่นเหม็น เว้นจากเมถุน ตั้งอยู่ในธรรมนี้ และศึกษาอยู่ในธรรมนี้ จึงจะถึงพรหมโลกได้
95 ปี วิชชาธรรมกาย
คำว่า “ธรรมกาย” มีการพูดถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่เมื่อพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ ได้ปฏิบัติธรรมเจริญสมาธิภาวนาจนได้บรรลุธรรมกาย เมื่อวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ปี พ.ศ. 2460 ณ วัดโบสถ์บน ต.บางคูเวียง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
อานิสงส์ทำจิตเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า
ดูก่อนยาย ขอยายจงนมัสการพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ทรงมีพระยศและกิตติศัพท์ประเสริฐกว่าใครๆ ในภพทั้งสาม พระองค์ทรงยืนอยู่เพื่อจะโปรดยาย ขอยายจงยังจิตให้เลื่อมใสถวายนมัสการพระองค์ผู้เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยเร็วเถิด จะได้เป็นบุญกุศลติดตัวยายไปในภพเบื้องหน้า
94 ปี วิชชาธรรมกาย ข่าวจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ
“ธรรมกาย” คือ กายตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า, “วิชชา” แปลว่า ความรู้แจ้ง, “วิชชาธรรมกาย” แปลว่า ความรู้แจ้งเรื่องธรรมกาย
เมื่อต้องสอน ผู้มองต่างมุม
เมื่ออยู่ในสถานะที่แตกต่าง ความคิดความเข้าใจย่อมแตกต่าง ดังเช่น บางคนไม่เข้าใจว่า ทำไมต้องให้ทาน เสียทรัพย์เปล่าๆ ทำไมต้องเข้าวัด เสียเวลา
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - คำถามนำไปสู่ความหลุดพ้น
เหมือนดังเรื่องของเมตไตยยะ ซึ่งออกบวชเป็นชฎิล คือ นักบวชประเภทหนึ่งที่มีในสมัยนั้น ปรารถนาจะหลุดพ้นจากทุกข์ เมื่ออินทรีย์แก่กล้า บุญบันดาลให้มาพบแสงสว่าง ท่านได้พบกับยอดกัลยาณมิตร คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงมีโอกาสได้ทูลถามปัญหา และตั้งปัญหาถามได้ลึกซึ้ง เป็นปัญหาที่น่ารู้น่าศึกษาทั้งสิ้น
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สู่เส้นทางนิพพาน
พระบรมศาสดาประทานพระโอวาทว่า "อานนท์ เธอเป็นผู้ที่ได้ทำบุญไว้ดีแล้ว ในบรรดาพุทธอุปัฏฐากทั้งหลายในภัทรกัปนี้ เธอเป็นยอดของอุปัฏฐากเหล่านั้น เพราะฉะนั้น เธอจงหมั่นประกอบความเพียรเถิด จักเป็นผู้หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะในภพชาตินี้" แล้วท่านพระอานนท์ ท่านได้บรรลุธรรมโดยขณะที่กำลังเองหลังลงนอน เรื่องราวเป็นอย่างไรนั้น