กายนิพพินทชาดก ชาดกว่าด้วยความเบื่อหน่ายร่างกาย
รุ่งเข้าวันหนึ่ง ชายป่วยได้ตื่นเช้ากว่าปกติ เขาหันหน้าออกไปทางหน้าต่างเพื่อรับอากาศบริสุทธิ์ เขามองออกไปดูวิถีชีวิตของชาวบ้าน พลันสายตาก็เหลือบไปเห็นพระภิกษุสงฆ์ออกมาบิณฑบาต แล้วเขาก็เกิดความคิดอย่างหนึ่ง “ จริงสินะ ชีวิตมันไม่เที่ยงจริง ๆ สังขารย่อมร่วงโรยเป็นธรรมดา ถ้าเราหายจากโรคนี้เราจะบวช ”
มณิกัณฐชาดก ชาดกว่าด้วยขอสิ่งที่ไม่ควรขอ
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่าการขอไม่เป็นที่ชอบใจ แม้ของพวกนาคที่อยู่ในนาคพิภพอันสมบูรณ์ด้วยรัตนทั้ง ๗ ประการ จะป่วยกล่าวไปใยถึงมนุษย์ทั้งหลายเล่า ”
อย่าให้เกิดอาการน้อยใจ
ผู้ใดละทิ้งคนของตน ทำผู้ที่มาใหม่ให้เป็นที่รักอย่างนี้ ผู้นั้นคนเดียวจะเศร้าโศกมากมาย เหมือนพราหมณ์ธูมการีเศร้าโศกอยู่อย่างนั้น
อย่าขอสิ่งที่ไม่ควรขอ
บุคคลรู้ว่า สิ่งของอันใดเป็นที่รักของเขา ก็ไม่ควรขอสิ่งของอันนั้น บุคคลย่อมเป็นที่เกลียดชังเพราะขอจัด พญานาคถูกพราหมณ์ขอแก้วมณี ตั้งแต่นั้นก็มิได้มาให้พราหมณ์เห็นอีกเลย
อานิสงส์ของการทำบุญทอดผ้าป่า (ภาคพิเศษ) ตอนที่ 1
มาศึกษาถึงความเป็นมาของพิธีทอดผ้าป่าว่าใครคือคนแรกที่ได้ถวายผ้าป่าแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และอานิสงส์ของการทอดผ้าป่ามีอะไรบ้าง ติดตามอานิสงส์การทอดผ้าป่าตอนที่ 1 ได้เลย
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า