การศึกษาพุทธศาสนาเเบบบูรณาการ ในประเทศนิวซีเลนด์
ดอกผลของการลงนามความร่วมมือ (MoU) ระหว่าง มหาวิทยาลัยโอทาโก้ กับ มูลนิธิ 60 ปีธรรมชัยเพื่อการศึกษา เเละสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ประเทศนิวซีแลนด์
ประธานอำนวยการ DIRI เข้าเยี่ยมคณะผู้บริหารศูนย์พุทธศาสตร์ออกซ์ฟอร์ด
ประธานอำนวยการสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย ได้เข้าเยี่ยมคณะผู้บริหารศูนย์พุทธศาสตร์ออกซ์ฟอร์ด
DIRI มอบทุนการศึกษาประจำปีแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยโอทาโก้
ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยแห่งประเทศนิวซีแลนด์และออสเตรเลีย หรือ ดีรี่ ได้มอบทุนการศึกษาประจำปีแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยโอทาโก้
หัวหน้าหลักสูตรพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยโอทาโก้ เยี่ยมชมวัดพระธรรมกาย
หัวหน้าหลักสูตรพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยโอทาโก้ ประเทศนิวซีแลนด์ พร้อมคณะ ได้เดินทางมาเยี่ยมชมวัดพระธรรมกาย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๓)
ในฉบับที่แล้ว ผู้เขียนเล่าย้อนไปถึงพันธกิจที่สำคัญเกี่ยวกับการเดินทางไปเยี่ยมเยียนให้กำลังใจทีมงานนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI)....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๒)
ก่อนที่ผู้เขียนจะเดินทางกลับไปยังประเทศนิวซีแลนด์ ผู้เขียนได้บันทึกถึงการเดินทางครั้งนี้ไว้ว่าเป็นการเดินทางที่เต็มไปด้วยประสบการณ์ที่คุ้มค่า.....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๓)
ผู้เขียนและคณะทีมงานของสถาบันฯมีความปลื้มปีติที่ได้แสดงความกตัญญูตอบแทนและประกาศเกียรติคุณของพระเดชพระคุณ-พระเทพญาณมหามุนี วิ. (หลวงพ่อธัมมชโย) ที่เป็นองค์สถาปนาสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยซึ่งท่านมีมโนปณิธานมาเป็นเวลากว่า ๓๕ ปีว่าน่าจะมีใครสักคนหรือหลาย ๆ คนในองค์กรทำการค้นคว้าหาหลักฐานคำสอนดั้งเดิมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยเฉพาะเรื่องธรรมกายเพื่อทำความจริงให้ปรากฏ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐)
การไปร่วมสัมมนาครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากการที่สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยได้ร่วมลงนามทำสัญญาความร่วมมือ (MOU) กับทางวิทยาลัยสงฆ์นครน่านฯ เฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และจากการลงนาม MOU นี้ ทำให้เรามีกิจกรรมร่วมกันหลาย โครงการแต่เน่อื งจากผู้เขียนยังนำเสนอบทความเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่สิ้นสุด จึงจะขอนำเสนอผลงานที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทั้ง ๒ ฝ่ายในอนาคต ในโอกาสนี้ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว ดังนี้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก