ทำบุญไว้เถิดประเสริฐนัก ตอนที่ 3
พระเถระอดีตพระราชาองค์ที่ออกบวช ทรงมีดำริที่จะช่วยเหลือประชาชนที่อาศัยอยู่ในแคว้นเพื่อนบ้านซึ่งกำลังประสบทุพภิกขภัย
หลับแล้วตื่นกลางวิมาน ตอนที่ 7
ต่อมา ได้เกิดสงครามระหว่างแคว้นของพระราชาองค์ที่ออกบวชกับแคว้นกันชนฝั่งทิศใต้ ลูกจึงได้ถูกบรรจุอยู่ในหน่วยสนับสนุนการรบครั้งนี้
เรื่องของคนชอบชนไก่ ตอนที่ 8
ในพุทธันดรที่ผ่านมา ลูกได้เกิดเป็นกุลบุตรน้ำใจงามอยู่ในตระกูลของพ่อค้าที่ทำการค้าอยู่ในแคว้นของพระราชาองค์ที่ออกบวช
ขอเรียนเชิญทุกท่านร่วมเป็นเจ้าภาพบวชพระ 100,000 รูปเข้าพรรษานี้
การได้เกิดเป็นมนุษย์เป็นของยาก การได้เกิดเป็นชายและได้โอกาสมาบวชในพระพุทธศาสนาเป็นของยากยิ่งกว่า บุญบวชจึงเป็นมหากุศลอันยิ่งใหญ่ หากแม้มีผู้ปรารถนาจะออกบวช แต่กลับไม่มีผู้เป็นเจ้าภาพเป็นผู้สนับสนุนแล้ว การบวชนั้นก็ยากจะบังเกิดขึ้นได้ ผู้ใดได้ร่วมสนับสนุนการบวชให้เกิดขึ้น ย่อมได้อานิสงส์ผลบุญมากมายเช่นกัน ขอเรียนเชิญทุกท่านมาเป็นเจ้าภาพ โครงการอุปสมบทหมู่เข้าพรรษา 100,000 รูปทั่วไทย ประจำปี พ.ศ. 2554
อุบาสิกายอดนักสร้างบารมี ตอนที่ 5
การออกบวชนี่แหละ ที่เป็นหนทางสว่างที่จะช่วยทำให้คลายจากความรู้สึกผิดบาปที่ติดอยู่ในใจ และทำให้ได้พบกับความสุขที่แท้จริง
เกิดมาสร้างบารมี
แม้จะเกิดมาเป็นผู้หญิง ไม่สามารถออกบวชได้เหมือนผู้ชาย แต่ก็สามารถเป็นผู้หญิงหัวใจพระ และสามารถสร้างบารมีได้อย่างเต็มที่เต็มกำลัง
วาตมิคชาดก-ชาดกว่าด้วยอำนาจของรส
ครั้งเมื่อมคธรัฐปรากฎแสงธรรมะซึ่งพระสัมมาสัมพุทธได้ตรัสรู้เจ้าอริยสัจสี่ให้เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาในความจริงแห่งสังสารวัฏจนครอบคลุมไปทั่วแคว้นใหญ่แห่งนี้นั้น กุลบุตรตระกูลต่างๆ ก็พากันสละเพศผู้ครองเรือนออกติดตามพระผู้ชนะมารไปยังกรุงสาวัตถีแคว้นโกศลอย่างมากมายเพื่อออกบวชเป็นภิกษุสงฆ์ของพระสมณะโคดม
มาตุโปสกชาดก-ชาดกว่าด้วยพญาช้างยอดกตัญญู
ในสมัยหนึ่งครั้งเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดเชตะวันเมืองสาวัตถี ได้เกิดเรื่องราวถกเถียงกันในหมู่สงฆ์ ถึงเรื่องวินัยสงฆ์ของภิกษุผู้เลี้ยงมารดารูปหนึ่ง ภิกษุที่ว่านี้เมื่อออกบวชในพุทธศาสนาก็ไม่สามารถปฏิบัติธรรมอย่างจริงจังได้ เพราะต้องคอยมาปรนนิบัติผู้เป็นมารดาที่อาศัยอยู่ในบ้านตามลำพัง
มโนชชาดก-ชาดกว่าด้วยคบคนชั่วไม่ได้ความสุขที่ยั่งยืน
สมัยนั้นมีสหายสองคนผู้เป็นชาวเมืองราชคฤห์ ในสองสหายนั้น คนหนึ่งบวชในสำนักของพระศาสดาอีกคนหนึ่งบวชในสำนักของพระเทวทัต สหายทั้งสองนั้นย่อมได้พบเห็นกันและกันอยู่เสมอ แม้ไปวิหารก็ยังได้พบเห็นกัน ภิกษุที่ออกบวชในสำนักพระศาสดาต้องปฏิบัติกิจสงฆ์ออกบิณฑบาต ปฏิบัติธรรมอยู่เป็นนิจ ส่วนภิกษุที่บวชในสำนักของพระเทวทัตนั้นไม่ต้องออกไปบิณฑบาต เพราะจะมีคนจัดสำรับไว้ให้ในโรงฉันเรียบร้อย
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - คำถามนำไปสู่ความหลุดพ้น
เหมือนดังเรื่องของเมตไตยยะ ซึ่งออกบวชเป็นชฎิล คือ นักบวชประเภทหนึ่งที่มีในสมัยนั้น ปรารถนาจะหลุดพ้นจากทุกข์ เมื่ออินทรีย์แก่กล้า บุญบันดาลให้มาพบแสงสว่าง ท่านได้พบกับยอดกัลยาณมิตร คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงมีโอกาสได้ทูลถามปัญหา และตั้งปัญหาถามได้ลึกซึ้ง เป็นปัญหาที่น่ารู้น่าศึกษาทั้งสิ้น