วันวิสาขบูชา 2568 ประวัติวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา Visakha Puja วันวิสาขบูชาวันสำคัญสากลโลก วันพุธที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2568 วิสาขบูชา ย่อมาจากคำว่า “วิสาขปุรณมีบูชา” แปลว่า การบูชาพระในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (คือเดือน 6) ประวัติ ความเป็นมาของวันวิสาขบูชา
วัดพระธรรมกาย มูลนิธิธรรมกาย จัดกิจกรรมถวายพระพรชัยมงคล และถวายพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภาฯ
วัดพระธรรมกาย มูลนิธิธรรมกาย ได้จัดกิจกรรมถวายพระพรชัยมงคล และถวายพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา ให้ทรงหายจากอาการประชวรโดยเร็ววัน
ดอกมะลิ ดอกไม้สัญลักษณ์ประจำวันแม่
ดอกมะลิ ดอกไม้สัญลักษณ์ประจำวันแม่ ความหมายของดอกมะลิ รูปดอกมะลิวันแม่ ดอกไม้ดอกเล็ก ๆ สีขาวบริสุทธิ์ที่มีกลิ่นหอมชวนดมอย่าง "ดอกมะลิ" ถูกนำมาใช้เป็นดอกไม้สัญลักษณ์ "วันแม่" เพราะดอกมะลิเปรียบเสมือนความรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีให้ลูกน้อยไม่มีวันเสื่อมคลาย
วัดพระธรรมกาย จัดพิธีสวดพระอภิธรรมพระสุธรรมญาณวิเทศ
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ได้จัดพิธีสวดพระอภิธรรมพระสุธรรมญาณวิเทศ อดีตผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
ธรรมชาติลงโทษ
การสร้างสรรค์ของมนุษย์นั้นทำให้เกิดสิ่งอำนวยความสะดวกขึ้นมากมาย แต่ก็เป็นการทำลายไปด้วย จนกระทั่งธรรมชาติทนไม่ไหวเกิดการลงโทษขึ้นมา
พิธีบรรพชาโครงการอุปสมบทหมู่ธรรมทายาทนานาชาติ รุ่นที่ 17
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี จัดพิธีบบรรพชาในโครงการอุปสมบทหมู่ธรรมทายาทนานาชาติ รุ่นที่ 17 และโครงการบรรพชาสามเณรโรงเรียนนานาชาติรุ่นที่ 11
สติบำบัด
คนส่วนมากมักจะมีสติในเรื่องของคนอื่น แต่พอเรื่องของตนเองกลับเสียสติ
ทำไม...ถึงสร้างพระมหาธรรมกายเจดีย์รูปทรงแบบนี้ ? ผิดไหม ? ใช่รูปจานบินไหม ?
แล้วพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเรื่องการออกแบบสร้างสถูปหรือเจดีย์ไว้อย่างไร ?
จดหมายจากองค์กรพุทธประเทศอินเดียร้องนายกรัฐมนตรีอย่าให้เกิดความรุนแรงกรณีหลวงพ่อธัมมชโย
ในนามตัวแทนขององค์กรพุทธประเทศอินเดีย อาตมารู้สึกกังวลและเจ็บปวดที่ได้รู้ว่าวัดพระธรรมกายซึ่งเป็นวัดในสถาบันพระพุทธศาสนาในประเทศ รวมถึงหลวงพ่อธัมมชโย ได้ถูกกล่าวหาโดยกลุ่มคนผู้บริหารประเทศไทยในหลายๆ คดี ซึ่งล้วนแล้วแต่บิดเบือนจากความเป็นจริง เต็มไปด้วยอคติและความแค้นส่วนบุคคล เป็นไปเพื่อทำลายพระพุทธศาสนาและวัดพระธรรมกาย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน