มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - เวลาอันทรงคุณค่ายิ่ง
มีพระราชาพระองค์หนึ่งพระนามว่า “เอสุการี” พระองค์มีปุโรหิตเป็นสหายรักตั้งแต่ครั้งยังทรงพระเยาว์ ทั้งพระราชาและปุโรหิตต่างไม่มีพระโอรสที่จะสืบสกุล วันหนึ่ง พระราชาและปุโรหิตปรึกษาหารือกันว่า ถ้าหากบุตรของใครเกิดก่อน บุตรของคนนั้นจะได้ครอบครองราชสมบัติ
กฎเหล็ก! ห้ามสูบบุหรี่ใน ผับ ร้านอาหาร ตลาด มีผล 11 ก.พ. นี้
คำศัพท์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับศูนย์กลางธรรมกายแห่งโลก ::: หน้าหลัก
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - ฝ่าเท้ามารดา หนทางพาสู่สวรรค์
ในสมัยที่พระองค์เสวยพระชาติเป็นช้างเผือก ที่มีความ กตัญญู มีบริวารถึง ๑๐๐,๐๐๐ เชือก สามารถปกครองช้างทั้งหมดให้อยู่กันอย่างมีความสุข มารดาของท่านตาบอด ไม่สะดวกในการหาอาหารด้วยตนเอง ในคืนวันหนึ่ง พญาช้างโพธิสัตว์จึงพามารดาไปอยู่ในถ้ำที่เชิงเขาตามลำพัง คอยหาน้ำ หาอาหารมาเลี้ยงดูแลท่านด้วยความกตัญญู
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 23
มโหสถใช้เวลาครุ่นคิดเพียงชั่วครู่เท่านั้น ก็สามารถที่จะเฉลยคำตอบในทันทีว่า “เรื่องนี้ไม่ยากดอก อย่าเดือดเนื้อร้อนใจไปเลย เพราะอันที่จริง โคมงคลที่พระราชาตรัสถามถึง ทรงหมายเอาไก่สีขาวปลอดนั่นเอง เพราะตามธรรมดา ไก่ย่อมมีเขาที่เท้าคือเดือย มีโหนกที่ศีรษะคือหงอน และขันวันละ ๓ เวลาเป็นปกติ ฉะนั้น ท่านจงทำตามคำของเราก็แล้วกัน”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 22
นับแต่นั้นมา พระเจ้าวิเทหราชก็ได้ผูกปัญหาส่งไปทดสอบชาวปาจีนยวมัชฌคามอย่างต่อเนื่องมิ ได้ขาด ทั้งนี้ทรงมีพระราชประสงค์จะวัดปัญญานุภาพของมโหสถบัณฑิตแต่เพียงผู้เดียว เท่านั้น แต่ครั้นจะทรงส่งปัญหาไปถึงมโหสถโดยตรง ก็เกรงว่าจะเป็นการจำเพาะเจาะจงจนเกินไป ดังนั้น จึงได้มอบให้เป็นภาระของชาวปาจีนยวมัชฌคามทุกคนที่จะต้องรับผิดชอบร่วมกัน แต่นับวันปัญหานั้นก็จะยิ่งทวีความยากขึ้นไปเรื่อยๆ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 21
ไม้ท่อนนั้นแม้มองด้วยสายตาจะเห็นว่าเท่ากันทั้งสอง ด้าน แต่เมื่อได้วางลงไปในน้ำ แทนจะจมลงไปในน้ำเท่ากัน กลับกลายเป็นว่า ข้างหนึ่งกลับจมลงไปมากกว่าอีกข้างหนึ่ง เมื่อผลปรากฏเป็นเช่นนี้ มโหสถกุมารจึงชี้บอกมหาชนในที่นั้น ให้สังเกตดูลักษณะการจมลงของท่อนไม้ว่า
วธ.ทำคู่มือป้องกันหมิ่นพุทธฯแจกสถานทูต
สามเณรแก้วแห่งบังคลาเทศ
กิจวัตรประจำวันของสามเณรทุกรูป คือ ตื่นนอนเวลา 3.00น. เริ่มเรียนพระสูตรตอนตีสี่ ปกติแล้วพระ เณร ส่วนใหญ่ในประเทศบังคลาเทศ ไม่มีการบิณฑบาต เพราะชุมชนชาวพุทธมีอยู่น้อย ยกเว้นในวัดใหญ่ๆเท่านั้น ช่วงบ่าย เริ่มเรียนหนังสือตั้งแต่เวลา 14.00น.
แฮปปี้ โยนหินกระทบธุรกิจปลดล็อก 'วันหมด'