97 ปี วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกายพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
ย้อนไปเมื่อ พ.ศ. 2427 ตรงกับรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ณ ผืนดินรูปดอกบัว ที่แวดล้อมด้วยธารน้ำแห่งตำบลสองพี่น้อง อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี มีเด็กชายคนหนึ่ง ถือกำเนิดขึ้นในครอบครัวของพ่อค้าข้าวเด็กชายคนนี้ได้ชื่อว่า “สด มีแก้วน้อย....
ผู้มีราตรีเดียวเจริญ
พึงทำความเพียรเสียในวันนี้แหละ ใครเล่าจะรู้ว่า ความตายจะมีในวันพรุ่ง เพราะว่าความผัดเพี้ยนกับมัจจุราชผู้มีเสนาใหญ่ ย่อมไม่มีแก่เราทั้งหลาย พระมุนีผู้สงบย่อมเรียกบุคคลผู้มีปกติอยู่อย่างนี้ มีความเพียร ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน นั้นว่าผู้มีราตรีเดียวเจริญ
อริยมรรค หนทางสู่ความหลุดพ้น
ท่านทั้งหลายจงดำเนินตามทางที่สร่างความมัวเมา บรรเทาความเศร้าโศก เปลื้องตนให้หลุดพ้นจากสงสาร ซึ่งเป็นที่สิ้นสุดแห่งทุกข์ทั้งปวง โดยความเคารพเถิด
หนทางสู่ธรรมกาย
ดูก่อนวาเสฏฐะ คำว่า ธรรมกายก็ดี คำว่า พรหมกายก็ดี คำว่า ธรรมภูต ก็ดี หรือคำว่า พรหมภูตก็ดี เป็นชื่อของพระตถาคต
เส้นทางไปของผู้มีรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง
ชนเหล่าใดในศาสนานี้ละกามราคะอนุสัย คือภวราคะ และโมหะได้ขาด ชนเหล่านั้น ย่อมไม่ต้องนอนในครรภ์ คือเกิดอีก เพราะถึงนิพพานดับทุกข์เย็นสนิทดีแล้ว
ที่พึ่งที่แท้จริง
จงมีตนเป็นเกาะ มีตนเป็นที่พึ่ง สิ่งอื่นไม่ใช่ จงมีธรรมเป็นเกาะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง สิ่งอื่นไม่ใช่
หนทางสายกลาง
หนทางสายกลาง พระตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง เกิดธรรมจักขุ เกิดญาณเครื่องรู้ ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม และเพื่อพระนิพพาน
ความอัศจรรย์แห่งมนต์ ๒
ชนทั้งหลาย ย่อมรดผู้ที่มีความทุกข์ด้วยน้ำใด ชนทั้งหลายย่อมรดผู้ที่เร่าร้อนด้วยน้ำใด เราจักตายในท่ามกลางน้ำนั้น ภัยเกิดแต่ที่พึ่งอาศัยแล้ว
เทวดาเตือนภัย
บัณฑิต พึงรีบทำกิจที่ควรทำก่อน อย่าให้กิจที่ต้องทำเบียดเบียนตัวได้ในเวลาที่ต้องการ กิจนั้นไม่เบียดเบียนบุคคลผู้รีบทำกิจที่ควรทำเช่นนั้น ในเวลาที่ต้องการ
คาถากันยักษ์ ตอนที่ ๑
พระพุทธเจ้าเหล่าใด ผู้ดับแล้วในโลก ทรงเห็นแจ้งแล้วตามความเป็นจริง พระพุทธเจ้าเหล่านั้นเป็นผู้ไม่ส่อเสียด เป็นผู้ยิ่งใหญ่ปราศจากความครั่นคร้าม เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย นอบน้อมพระพุทธเจ้าพระองค์ใด ผู้โคตมโคตร ทรงเกื้อกูลแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ทรงถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ยิ่งใหญ่ปราศจากความครั่นคร้าม